|
|
 |
|
 |
|
|
|
|
|
ที่ตั้ง ตำบลวังหว้า อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอศรีประจันต์ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ประมาณ 10 กิโลเมตรสามารถเดินทางติดต่อได้โดยทางหลวงแผ่นดิน 3038
|
เนื้อที่ ตำบลวังหว้า มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 23.066 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 14,416 ไร่
|
ภูมิประเทศ เป็นที่ราบอยู่ในเขตชลประทาน มีแหล่งน้ำธรรมชาติ คือ แม่น้ำท่าจีน แม่น้ำท่าคอย
|
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ตำบลย่านยาว อำเภอสามชุก |
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ตำบลบางงาม อำเภอศรีประจันต์ |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ตำบลบ้านกร่าง อำเภอศรีประจันต์ |
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ตำบลหนองสาหร่าย อำเภอดอนเจดีย์ | |
จำนวนหมู่บ้าน ทั้งหมด 7 หมู่ จำนวนหมู่บ้านในเขตองศ์การบริหารส่วนตำบล เต็มทั้งหมู่บ้าน 7 หมู่
หมู่ที่ 1 |
บ้านตลาดวังหว้า |
หมู่ที่ 2 |
บ้านดอนลาน |
หมู่ที่ 3 |
บ้านดงขี้เหล็ก |
หมู่ที่ 4 |
บ้านดงขี้เหล็ก |
หมู่ที่ 5 |
บ้านวัดเกาะ |
หมู่ที่ 6 |
บ้านวัดเกาะ |
หมู่ที่ 7 |
บ้านคลองชะโด | ประชากร จากข้อมูลและสถิติประชากรตามทะเบียนราษฎร จนถึง 31 ธันวาคม 2550 ตำบลวังหว้า มีจำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น 5,664 คน แยกเป็นชาย 2,629 คนแยกเป็นหญิง 3,035 คน ความหนาแน่นของประชากรโดย เฉลี่ย 248.33 คน/ตารางกิโลเมตร
ตารางจำนวนประชากรของตำบลวังหว้า
หมู่บ้าน |
พื้นที่ (ตรกม.) |
จำนวน ครัวเรือน |
จำนวนประชากร |
ความหนาแน่น ของประชากร ต่อ ตร.กม. |
ชาย |
หญิง |
รวม |
1.บ้านตลาดวังหว้า |
- |
310 |
378 |
505 |
883 |
- |
2.บ้านดอนลาน |
- |
198 |
387 |
403 |
790 |
- |
3.บ้านดงขี้เหล็ก |
- |
170 |
281 |
350 |
631 |
- |
4.บ้านดงขี้เหล็ก |
- |
258 |
397 |
470 |
867 |
- |
5.บ้านวัดเกาะ |
- |
195 |
313 |
346 |
659 |
- |
6.บ้านวัดเกาะ |
- |
352 |
520 |
581 |
1,101 |
- |
7.บ้านคลองชะโด |
- |
206 |
353 |
380 |
733 |
- |
รวม |
- |
1,689 |
2,629 |
3,035 |
5,664 |
- |
|
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ คือร้อยละ 90 ของผู้มีงานทำประกอบอาชีพเกษตรกรรม,รองลงมาอาชีพรับราชการ/พนักงานของรัฐ รับจ้าง และ ค้าขาย ตามลำดับ
อาชีพที่ทำรายได้ให้กับประชากรภายในตำบลมากที่สุด คือ อาชีพเกษตรกรรม โดยพืชที่นิยมปลูก ได้แก่ข้าวไม้ผล เช่น มะม่วง,มะพร้าว,ฝรั่ง,ชมพู่ ฯลฯ พืชไร่ เช่น ข้าวโพด พืชผัก เช่น แตงกวา,คะน้า,กวางตุ้งมะเขือ,ถั่วฝักยาว,มันเทศ,พริก,ผักชี,ต้นหอม,บวบ ฯลฯ
ด้านการเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงไว้เพื่อบริโภคภายในครอบครัวและบางส่วนนำมาจำหน่ายเพื่อเป็นรายได้เสริม
ด้านอุตสาหกรรม ภายในตำบลมีโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ โรงงานทำขนมจีบ ,โรงงานทำปลาทูนึ่ง,โรงสีข้าว,โรงทำขนมสาลี่ และอื่น ๆ
หน่วยธุรกิจในเขต องค์การบริหารส่วนตำบล
ปั๊มน้ำมัน |
14 |
แห่ง |
โรงสีข้าว |
2 |
แห่ง |
อู่ซ่อมรถยนต์ |
8 |
แห่ง |
ร้านรับซื้อของเก่า |
1 |
แห่ง |
ตลาดนัด |
4 |
แห่ง |
ร้านขายอะไหล่รถยนต์ |
1 |
แห่ง |
ร้านกลึงเครื่องจักรกล |
2 |
แห่ง |
ร้านอ๊อค เชื่อม กลึง |
5 |
แห่ง |
ฟาร์ม |
2 |
แห่ง |
ผลิตภัณฑ์การเกษตร |
1 |
แห่ง |
ร้านขายวัสดุก่อสร้าง |
3 |
แห่ง |
ร้านอาหาร |
10 |
แห่ง |
ร้านตัดผมชาย |
2 |
แห่ง |
ร้านเสริมสวย |
3 |
แห่ง |
กิจการนวดแผนโบราณ |
1 |
แห่ง |
ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า |
1 |
แห่ง |
|
การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษา |
4 |
แห่ง |
- โรงเรียนมัธยมศึกษา |
1 |
แห่ง |
- ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน |
3 |
แห่ง |
- ศูนย์ข้อมูลประจำตำบล |
1 |
แห่ง |
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก |
2 |
แห่ง | สถาบันและองศ์กรทางศาสนา วัด 3 แห่ง
สาธารณสุข
- สถานีอนามัยประจำตำบล 2 แห่ง |
- ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 1 แห่ง |
- อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 | ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน - ที่พักสายตรวจ 1 แห่ง - รถตรวจการดับเพลิง - คัน - รถยนต์บรรทุกน้ำดับเพลิง - คัน
แหล่งน้ำธรรมชาติ - ลำน้ำ,ลำห้วย 2 สาย - บึง,หนอง และอื่น 5 แห่ง - แม่น้ำ 2 สาย - คลอง - สาย - คลองชลประทาน 2 สาย |
การคมนาคม การคมนาคมทางบกโดยรถยนต์ ทั้งภายในตำบลและระหว่างตำบล มีความสะดวกรวดเร็ว เนื่องจากมีโครงการปรับปรุงถนนในเขตตำบลอย่างต่อเนื่อง การคมนาคมแบ่งออกเป็น ดั้งนี้ - ถนน คสล. 30 สาย - ถนนลูกรัง 20 สาย - ถนนหินคลุก 40 สาย - ถนนลาดยาง 5 สาย - ถนนคอนกรีต (ถนนตัวหนอน ม.7) 1 สาย
การโทรคมนาคม - ชุมสายโทรศัพท์ 1 แห่ง
การไฟฟ้า -ไฟฟ้าเข้าถึงครบทั้ง 7 หมู่บ้าน - จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 100 ของประชากรทั้งหมดของตำบล
แหล่งน้ำ - แหล่งน้ำสร้างขึ้น - บ่อน้ำตื้น 1 แห่ง - บ่อน้ำบาดาล 30 แห่ง - ประปาหมู่บ้าน 8 แห่ง - แหล่งน้ำธรรมชาติ - แม่น้ำท่าคอย 1 แห่ง - บึงหนองจอก
มวลชนจัดตั้ง - ลูกเสื้อชาวบ้าน 4 รุ่น - อสปม.1 รุ่น - กลุ่มสตรี-แม่บ้าน 1 รุ่น |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
|